หมวดที่ 2 การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

หมวดที่ ๒ การสื่อสารและสร้างจิตสำนึก

๒.๑ การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

๒.๒ การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

หัวข้อผลการดำเนินงานไฟล์หลักฐาน

๒.๑ การอบรมให้ความรู้และประเมินความเข้าใจ

๒.๑.๑ กำหนดแผนการฝึกอบรม ดำเนินการอบรม การประเมินผล และ บันทึกประวัติการฝึกอบรม
(๑) ระบุหลักสูตรและความถี่การอบรม ลงในแผนการฝึกอบรม โดยหลักสูตร ครอบคลุมเนื้อหามีรายละเอียด อย่างน้อยดังนี้
– ความสำคัญของสำนักงานสีเขียว – การใช้พลังงานและทรัพยากร อย่างมีประสิทธิภาพ
– การจัดการมลพิษและของเสีย
– การจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม
– ก๊าซเรือนกระจก
(๒) ดำเนินการฝึกอบรมตามแผนการ ฝึกอบรมในข้อ (๑) โดยผู้รับการ อบรมจะต้องมากกว่าร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายในแต่ละหลักสูตร
(๓) ประเมินผลการฝึกอบรม เช่น ข้อสอบ หรือการประเมินขณะ ปฏิบัติงาน เป็นต้น พร้อมจัดทำ ประวัติการอบรมของบุคลากร
(๔) สรุปผลการอบรมตามแผนที่กำหนดไว้

คำอธิบาย

  

๒.๑.๒ กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการ อบรมแต่ละหลักสูตรมีความเหมาะสม (๑) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้อง เข้าใจเนื้อหาในการอบรม
(๒) ผู้รับผิดชอบในการอบรมจะต้องมี หลักฐานแสดงความสามารถ เช่น ใบรับรองจากหน่วยงานภายนอก หรือ ประวัติ หรือประสบการณ์ (อย่างใดอย่างหนึ่ง)
(๓) หลักฐานแสดงการให้ความรู้ของ วิทยากรที่มีความสอดคล้องกับหัวข้อ การอบรม

คำอธิบาย

  

๒.๒ การรณรงค์และประชาสัมพันธ์แก่บุคลากร

๒.๒.๑ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและ แนวทางสื่อสารด้านสิ่งแวดล้อมทั้ง ภายในและภายนอกสำนักงาน
(๑) กำหนดหัวข้อและความถี่การสื่อสาร อย่างน้อย ดังนี้
หัวข้อ ความถี่
๑. นโยบายสิ่งแวดล้อม ทุกครั้งที่มีการ เปลี่ยนแปลง
๒. ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่
ทุกครั้งที่มีการ
มีนัยสำคัญและการ
เปลี่ยนแปลง
จัดการ
๓. การปฏิบัติตาม
ทุกครั้งที่มีการ
กฎหมาย
เปลี่ยนแปลง
๔. ความสะอาดและ
ทุกครั้งที่มีการ
ความเป็นระเบียบ
เปลี่ยนแปลง
(5ส.)
๕ . เ ป ้ า ห ม า ย แ ล ะ
ทุกครั้งที่มีการ
มาตรการพลังงาน
เปลี่ยนแปลง
ทรัพยากร (ได้แก่ น้ำ
ไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง
ก๊าซหุงต้ม กระดาษ
และอื่นๆ)
๖ . เ ป ้ า ห ม า ย แ ล ะ
ทุกครั้งที่มีการ
มาตรการจัดการของ
เปลี่ยนแปลง
เสีย
๗. ผลการใช้ทรัพยากร
ทุกเดือน
พลังงาน และของเสีย
๘.สินค้าและบริการที่
ทุกครั้งที่มีการ
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เปลี่ยนแปลง
๙. ก๊าซเรือนกระจก ทุกเดือน

(๒) กำหนดช่องทางการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพกับหัวข้อการสื่อสาร และองค์กร (ไม่จำกัดจำนวนช่องทาง)
(๓) กำหนดกลุ่มเป้าหมายรับเรื่องสื่อสาร (ผู้ที่เกี่ยวข้องที่อยู่ภายในและ ภายนอกสำนักงาน)
(๔) กำหนดผู้รับผิดชอบในการสื่อสาร

คำอธิบาย

  

๒.๒.๒ มีการรณรงค์สื่อสารและให้ ความรู้ตามที่กำหนดในข้อ ๒.๒.๑ (1) มีการสื่อสารตามหัวข้อและช่องทาง การสื่อสารที่กำหนดไว้
(2) หัวข้อการสื่อสารมีการจัดทำเป็น ปัจจุบันตามความถี่ที่กำหนดไว้
(3) มีการประเมินผลการรับรู้หัวข้อการ สื่อสารและช่องทางการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ
(4) นำผลการประเมินในข้อ (3) มา วิเคราะห์และสื่อสารกับบุคลากร เพื่อให้เกิดการรับรู้และขับเคลื่อน การสื่อสารขององค์กร

คำอธิบาย

  

๒.๒.๓ ร้อยละความเข้าใจนโยบาย สิ่งแวดล้อมและการดำเนินงาน สำนักงานสีเขียว (สุ่มอย่างน้อย ๔ คน) โดยจะต้องสอบถามบุคลากรแต่ละคน อย่างน้อยตามข้อ ๒.๒.๑ (๑)

คำอธิบาย

  

๒.๒.๔ มีช่องทางรับข้อเสนอแนะ/ ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม และนำมา ปรับปรุงแก้ไข โดยต้องมีแนวทางดังนี้ (๑) มีช่องทางเพื่อรับข้อเสนอแนะ/
ข้อคิดเห็นด้านสิ่งแวดล้อม เช่น ไลน์ QR Code การประชุม เว็บไซต์
(๒) กำหนดผู้รับผิดชอบในการรับ ข้อเสนอแนะ/ข้อคิดเห็น
(๓) มีแนวทางและขั้นตอนในการจัดการ ข้อเสนอแนะด้านสิ่งแวดล้อม
(๔) มีการรายงานข้อเสนอแนะและการ จัดการแก่ผู้บริหาร (บรรยายให้ เหมาะสม)
(๕) จัดกิจกรรมเพื่อให้บุคลากรแสดง ความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะจาก การดำเนินงานสำนักงานสีเขียว

คำอธิบาย
๑. การดำเนินการอย่างต่อเนื่อง มีความเป็นไปได้อย่างมากที่ในระหว่างที่ดำเนินการจะมีการให้ ข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็น หรือข้อร้องเรียนจากบุคลากรทั้งภายในและ/หรือภายนอกองค์กร เพื่อนำไป พัฒนาปรับปรุง
๒. ข้อเสนอแนะสามารถมาได้จาก การประชุม การหารือ ทั้งที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการก็ได้ แต่จะต้อง มีหลักฐานข้อเสนอแนะรองรับ เช่น รายงานการประชุม หรือข้อเสนอแนะผ่าน Social media เป็นต้น

  

สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
114 สุขุมวิท 23 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
อีเมล : asklibrarian@g.swu.ac.th
โทรศัพท์ :  มือถือ 063-801-3030
แฟกซ์: 02 2604514

© 2025 SWU Central Library