หมวดที่ ๕ สภาพแวดล้อมและความปลอดภัย
๕.๑ อากาศในสำนักงาน
๕.๒ แสงในสำนักงาน
๕.๓ เสียง
๕.๔ ความน่าอยู่
๕.๕ การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน
หัวข้อ | ผลการดำเนินงาน | ไฟล์หลักฐาน |
---|---|---|
๕.๑.๑ การควบคุมมลพิษทางอากาศ ในสำนักงาน (๑) มีแผนการดูแลบำรุงรักษา ได้แก่ เครื่องปรับอากาศ เครื่องถ่าย เอกสาร เครื่องพิมพ์เอกสาร (Printer) ม่าน มูลี่ พรมปูพื้นห้อง (ขึ้นอยู่กับสำนักงาน) (๒) มีการกำหนดความถี่ หน้าที่ความ รับผิดช อบตามแผนการดูแล บำรุงรักษา (๓) มีผลการปฏิบัติตามแผนที่กำหนดใน ข้อ 1 (๔) มีการควบคุมมลพิษทางอากาศจาก การปฏิบัติในข้อ 1 (๕) การจัดวางเครื่องพิมพ์เอกสาร เครื่องถ่ายเอกสาร (Printer) ให้ ห่างไกลผู้ปฏิบัติงาน (๖) การควบคุมควันไอเสียรถยนต์ บริเวณสำนักงาน เช่น ติดป้ายดับ เครื่องยนต์(๗) การป้องกันอันตรายจากการพ่นยา กำจัดแมลง (ถ้ามี) (๘) มีการสื่อสารหรือแจ้งให้ทราบถึงการ เกิดมลพิษทางอากาศจากกิจกรรม ต่างๆ เพื่อการเตรียมความพร้อม และระวังการได้รับอันตราย (สามารถพิจารณาจากเอกสารหรือ ภาพถ่ายเป็นหลักฐานประกอบ)คำอธิบาย – | ||
๕.๑.๒ มีการรณรงค์ไม่สูบบุหรี่หรือมี การกำหนดพื้นที่สูบบุหรี่ที่เหมาะสม และปฏิบัติตามที่กำหนด (๑) มีการรณรงค์การไม่สูบบุหรี่ และมี การสื่อสารเกี่ยวกับอันตรายพิษภัย จากการสูบบุหรี่ (๒) มีการติดสัญลักษณ์เขตปลอดบุหรี่ (๓) มีการติดสัญลักษณ์เขตสูบบุหรี่ (๔) กำหนดเขตสูบบุหรี่ของหน่วยงาน และมีการจัดการก้นบุหรี่ โดยเขตสูบ บุหรี่จะต้องไม่อยู่ในบริเวณที่ ก่อให้เกิดความเดือดร้อนรำคาญแก่ ประชาชนที่อยู่บริเวณข้างเคียง และ ไม่อยู่ในบริเวณทางเข้า – ออกของ สถานที่ที่ให้มีการคุ้มครองสุขภาพ ของผู้ไม่สูบบุหรี่ และไม่อยู่ในบริเวณ ที่เปิดเผยอันเป็นที่เห็นได้ชัดแก่ผู้มา ใช้สถานที่นั้น(๕) ไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่นอก เขตสูบบุหรี่ (กรณีหน่วยงานเป็นสถานที่ห้ามสูบบุหรี่ ไม่ต้องดำเนินการข้อ (3) – (4) และ จะต้องไม่พบการสูบบุหรี่ หรือก้นบุหรี่ ตามข้อ (5))คำอธิบาย – | ||
๕.๑.๓ การจัดการมลพิษทางอากาศ จากการก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรือ อื่นๆ ในสำนักงานที่ส่งผลต่อบุคลากร (๑) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ มลพิษทางอากาศจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร (๒) ปฏิบัติตามมาตรการที่ได้กำหนดใน ข้อ (๑) แนวทางการกำหนดมาตรการมีดังนี้ – มีพื้นที่ทำงานสำรองให้กับ บุคลากร – มีที่กั้นเพื่อป้องกันมลพิษทาง อากาศที่จะส่งผลกระทบกับบุคลากร หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง – มีการสื่อสารหรือติดป้ายแจ้งเตือน เพื่อการเตรียมความพร้อมและระวังการ ได้รับอันตรายคำอธิบาย – | ||
๕.๒ แสงในสำนักงาน ๕.๒.๑ มีการตรวจวัดความเข้มของ แสงสว่าง (โดยอุปกรณ์การตรวจวัด ความเข้มของแสงสว่างที่ได้มาตรฐาน) และดำเนินการแก้ไขตามที่มาตรฐาน กำหนด คำอธิบาย
| ||
๕.๓ เสียง ๕.๓.๑ การควบคุมมลพิษทางเสียง ภายในอาคารสำนักงาน คำอธิบาย | ||
๕.๓.๒ การจัดการเสียงดังจากการ ก่อสร้าง ปรับปรุง อาคารหรืออื่นๆ ใน สำนักงานที่ส่งผลต่อบุคลากร (๑) กำหนดมาตรการรองรับเพื่อจัดการ เสียงดังที่เกิดจากการก่อสร้าง ปรับปรุงอาคาร คำอธิบาย | ||
๕.๔ ความน่าอยู่ ๕.๔.๑ มีการวางแผนจัดการความน่า อยู่ของสำนักงานโดยจะต้องดำเนินการ ดังนี้ (๔) มีแผนการเพิ่มพื้นที่สีเขียวภายใน อาคารหรือบริเวณโดยรอบอาคาร หรือคงรักษาไว้ ตามบริบทของหน่วยงาน และมีการปฏิบัติจริงตามแผน คำอธิบาย | ||
๕.๔.๒ ร้อยละการใช้สอยพื้นที่เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ที่สำนักงานกำหนด คำอธิบาย | ||
๕.๔.๓ ร้อยละการดูแลบำรุงรักษา พื้นที่ต่างๆ เช่น พื้นที่สีเขียว พื้นที่ พักผ่อนหย่อนใจ พื้นที่ส่วนกลาง และ พื้นที่ทำงาน เป็นต้น คำอธิบาย | ||
๕.๔.๔ มีการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค และดำเนินการได้ตามที่กำหนด (๑) มีการกำหนดแนวทางการป้องกัน สัตว์พาหะนำโรคในสำนักงานอย่าง เหมาะสม ได้แก่ นกพิราบ หนู แมลงสาบ และอื่นๆ (๒) ม ี ก า ร ก ำ ห น ด ค ว า ม ถ ี ่ ใ น ก า ร ตรวจสอบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค อย่างน้อยที่สุดเดือนละ ๑ ครั้ง (๓) มีการตรวจสอบร่องรอยตามความถี่ ที่ได้กำหนด (เฉพาะตอนกลางวัน) (๔) มีแนวทางที่เหมาะสมกับการจัดการ เมื่อพบร่องรอยสัตว์พาหะนำโรค (๕) ไม่พบร่องรอยหรือสัตว์พาหะนำโรค ในระหว่างการตรวจประเมิน หมายเหตุการควบคุมสัตว์พาหะนำโรค สำนักงานสามารถควบคุมและจัดการได้ เอง หรือว่าจ้างหน่วยงานเฉพาะมา ดำเนินการแทนคำอธิบาย – | ||
๕.๕ การเตรียมพร้อมต่อสภาวะฉุกเฉิน ๕.๕.๑ การอบรมฝึกซ้อมดับเพลิงและ อพยพหนีไฟตามแผนที่กำหนด คำอธิบาย | ||
๕.๕.๒ มีแผนฉุกเฉินที่เป็นปัจจุบันและ เหมาะสม และร้อยละของบุคลากรที่ เข้าใจแผนฉุกเฉิน (สุ่มสอบถามอย่างน้อย ๔ คน) (๑) มีการจัดทำแผนฉุกเฉินที่เป็น ปัจจุบันและเหมาะสม (๒) บุคลากรเข้าใจแผนฉุกเฉินและ อธิบายรายละเอียดได้คำอธิบาย แผนฉุกเฉินจะต้องประกอบไปด้วย 1. ก่อนเกิดเหตุเพลิงไหม้ได้แก่ แผนการอบรมป้องกันและระงับอัคคีภัย แผนรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย แผนการตรวจตราเพื่อป้องกันอัคคีภัย 2. ขณะเหตุเพลิงไหม้ ได้แก่ แผนระงับอัคคีภัย แผนอพยพหนีไฟ 3. หลังเกิดเหตุเพลิงไหม้ ได้แก่ แผนบรรเทาทุกข์ แผนปฏิรูปฟื้นฟู | ||
๕.๕.๓ ความเพียงพอและการพร้อมใช้ งานของอุปกรณ์ระบบดับเพลิงและ ป้องกันอัคคีภัย และระบบสัญญาณแจ้ง เหตุเพลิงไหม้ และร้อยละของบุคลากร ทราบวิธีการใช้และตรวจสอบอุปกรณ์ ดังกล่าว (สุ่มสอบถามอย่างน้อย ๔ คน) (๑) มีการติดตั้งและเตรียมอุปกรณ์ ดับเพลิง – ถังดับเพลิงมีเพียงพอต่อการใช้ งาน (กำหนดระยะห่าง อย่าง น้อย ๒๐ เมตร/ถัง ตามกฎหมาย ติดตั้งสูงจากพื้นไม่เกิน ๑๕๐ เซนติเมตรนับจากคันบีบ และ ถ้าเป็นวางกับพื้นจะต้องมี ฐานรองรับ) พร้อมกับติดป้าย แสดง – ติดตั้งระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ถ้ามี) – สายฉีดน้ำดับเพลิงและตู้เก็บสายฉีด (Hose and Hose Station) (ถ้ามี) (๒) ติดตั้งระบบสัญญาณแจ้งเตือนและ ต้องพร้อมใช้งาน- สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (พื้นที่มากกว่า ๓๐๐ ตารางเมตร หรืออาคารสูงเกิน ๒ ชั้นขึ้นไป) – ติดตั้งตัวดักจับควัน(smoke detector)หรือตัวตรวจจับความร้อน (heat detector) (๓) มีการตรวจสอบข้อ (๑) – (๒) และ หากพบว่าชำรุดจะต้องดำเนินการ แจ้งซ่อมและแก้ไข (๔) จัดทำแผนผังแสดงตำแหน่งของ อุปกรณ์ดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัย และสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (๕) บุคลากรจะต้องเข้าใจถึงวิธีการใช้ และตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงและ สัญญาณแจ้งเตือน อย่างน้อยร้อยละ ๗๕ จากที่สุ่มสอบถาม (๖) ไม่มีสิ่งกีดขวางอุปกรณ์ดับเพลิง และ สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ คำอธิบาย ๔. ระบบเครื่องสูบน้ำดับเพลิง (ดีเซล) สัปดาห์ละ ๑ ครั้ง
|