หอสมุดกลาง มศว

User Guides

U User Guides แนะนำการใช้บริการของสำนักหอสมุดกลาง New Discovery SWU Discovery Turnitin SWU eResources Library Services Library Activities Endnote Zotero Mendeley เรื่อง  แนะนำ NEW SWU Discovery  วิธีการสืบค้นหนังสือ    วิธีการสืบค้นบทความวารสาร    วิธีการสืบค้นปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์   วิธีการสืบค้นทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบข้อมูลสมาชิกและใช้บริการอัตโนมัติ เรื่อง       SWU Discovery คืออะไร   การสืบค้นทรัพยากร             สืบค้นอย่างไรให้ได้ผลตามต้องการ ep.1 ep.2         วิธีการสืบค้นหนังสือจากเครื่องมือสืบค้น SWU Discovery         วิธีการสืบค้นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์จากเครื่องมือสืบค้น SWU Discovery         วิธีการสืบค้นบทความวารสารจากเครื่องมือสืบค้น SWU Discovery          การจัดกระทำกับผลการสืบค้นจากเครื่องมือสืบค้น SWU Discovery     การตรวจสอบข้อมูลสมาชิกและใช้บริการอัตโนมัติต่าง ๆ               การตรวจสอบข้อมูลสมาชิกและใช้บริการอัตโนมัติต่าง ๆ ผ่านระบบ SWU Discovery          การต่ออายุหนังสือในระบบ (Renew) ผ่านระบบอัตโนมัติ SWU Discovery          การจองหนังสือผ่านระบบอัตโนมัติ SWU Discovery   อบรมแนะนำการสืบค้นทรัพยากร              การอบรมหัวข้อ “SWU Discovery & Databases” โดยสำนักหอสมุดกลาง วันที่ 16 กันยายน 2567 NEW รอบเช้ารอบบ่าย          การอบรมหัวข้อ “SWU Discovery & Databases” โดยสำนักหอสมุดกลาง วันที่ 28 สิงหาคม 2566     ดูคลิปทั้งหมดได้ที่ YouTube ของสำนักหอสมุดกลาง เรื่อง         แนะนำการใช้โปรแกรม Turnitin: การตรวจการคัดลอกผลงานวิชาการด้วยตัวเอง (Student Account)           แนะนำการใช้โปรแกรม Turnitin: การใช้งานโปรแกรม Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account)   No1.No.2   อบรมแนะนำการใช้โปรแกรม Turnitin                 การอบรมหัวข้อ “การตรวจสอบการคัดลอกผลงานวิชาการด้วยโปรแกรม Turnitin: Student Accounts” วิทยากรโดย บรรณารักษ์ จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทริโรฒ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.00-15.00 น. NEW                การอบรมหัวข้อ “การตรวจสอบการคัดลอกผลงานวิชาการด้วยโปรแกรม Turnitin: Instructor Accounts” วิทยากรโดย คุณจิรวัฒน์ พรหมพร จากบริษัท บุ๊คส์ โปรโมชั่น จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทริโรฒ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.00-15.00 น. NEW   No.1No.2No.3 No.4   เรื่อง แนะนำการใช้ CU eLibrary     แนะนำการใช้ SWU eLibrary                     การแสดงตัวตนด้วย CL OpenAthens  การอบรม/บรรยายโดยสำนักหอสมุดกลาง            การอบรมหัวข้อ “รู้จักทรัพยากรอิเล็กทรอนิกส์ที่สำนักหอสมุดกลางให้บริการประจำปี 2568” วันที่ 29 มกราคม 2568  NEW NO.1  NO.2  การอบรม/บรรยายโดยสำนักพิมพ์           • การใช้ฐานข้อมูล/โปรแกรม              การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล WGSN: Fashion Trend” วิทยากรโดย Rivani Changgra จากบริษัท WGSN จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.30-15.30 น.  NEW              การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล Sage Knowledge” วิทยากรจากบริษัท บุ๊คเน็ท จำกัด จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.00-15.00 น.  NEW              การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล Sage Journals” วิทยากรโดย คุณจิรวัฒน์ พรหมพร จากบริษัท บุ๊คส์ โปรโมชั่น จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.00-15.00 น.  NEW              การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล SCOPUS และ ScienceDirect: Introduction to Scopus & ScienceDirect for Research” วิทยากรโดย ดร.ยุทธพงศ์ กลิ่นธงชัย จากสำนักพิมพ์ Elsevier จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 26กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.00-16.00 น.  NEW              การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล SDGO (Sustainable Development Goals Online)” วิทยากรโดย คุณวรรณพร ไกรยะบุตร จากบริษัท นิว โนวเลจ อินฟอร์มเมชั่น จำกัด จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 13.00-15.00 น.  NEW               การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล NCX”  วิทยากรโดย คุณอรุณสวัสดิ์ หนูพุฒ จากบริษัท ดาต้าเซ็ต จำกัด จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 6 มีนาคม 2568 เวลา 13.00-15.00 น.  NEW            การอบรมหัวข้อ “การใช้ AI Chat Library” วิทยากรโดย คุณพรรณี คณิตเนตร และ Mr. Peter Chung จากบริษัท Ascendger Information Service (Thailand) จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 19 มีนาคม 2568 เวลา 13.00-14.00 น.  NEW            การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล CEIC Data” วิทยากรโดย คุณเปรมมิกา โกโรวาลา (Account Manager) จาก บริษัท CEIC Data (Thailand) จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 20 มีนาคม 2568 NEW               การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล Access Pharmacy”  วิทยากรโดย คุณไกรฤกษ์ ศรวณียารักษ์ จาก บริษัท นิว โนวเลจ อินฟอร์มเมชั่น บริษัทตัวแทนสำนักพิมพ์ Mc Graw-Hill  ร่วมกับสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 25 มีนาคม 2567                   การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล ACM Digital Library” โดยบริษัท Book Promotion & Service ร่วมกับ สป อว วันที่ 8 มีนาคม 2567            กาอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล ACS Journals” โดยบริษัท Book Promotion & Service ร่วมกับ สป อว วันที่ 7 มีนาคม 2567            การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล IEEE Xplore Digital Library (IEL)” โดยบริษัท Book Promotion & Service ร่วมกับ สป อว วันที่ 8 มีนาคม 2567            การอบรมหัวข้อ “การใช้ฐานข้อมูล SpringerLink: Journals” โดยบริษัท Book Promotion & Service ร่วมกับ สป อว วันที่ 8 มีนาคม 2567      • การสนับสนุนการศึกษาค้นคว้าวิจัยและการตีพิมพ์            การอบรมหัวข้อ “เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ” วิทยากรโดย คุณจิรวัฒน์ พรหมพร จากบริษัท บุ๊คส์ โปรโมชั่น จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13.00-15.00 น.  NEW No.1 No.2 No.3            การอบรมหัวข้อ “การพิจารณาคุณภาพและตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการ: Targeting Journal to Publish Your Manuscript” วิทยากรโดย ดร.ยุทธพงศ์ กลิ่นธงชัย จากสำนักพิมพ์ Elsevier จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 5 มีนาคม 2568 เวลา 13.00-15.00 น.    NEW              การอบรมหัวข้อ “ACS Read & Publish Agreement: User Training for Thailand Consortium” วิทยากรจากสำนักพิมพ์ ACS ร่วมกับบริษัท Book Promotion & Service วันที่ 15 พฤษภาคม 2567              การอบรมหัวข้อ “การพิจารณาคุณภาพและตีพิมพ์ผลงานในวารสารวิชาการ: Targeting Journal to Publish Your Manuscript” วิทยากรโดย ดร.ยุทธพงศ์ กลิ่นธงชัย (Customer Success Manager) จากสำนักพิมพ์ Elsevier ร่วมกับสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 19 มีนาคม 2567            อบรมหัวข้อ “เทคนิคการสืบค้นสารสนเทศ” วิทยากรโดย คุณจิรวัฒน์ พรหมพร จากบริษัท Book Promotion & Service จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 31 มกราคม 2567 No.1 No.2 No.3 No.4    No.5            การบรรยายหัวข้อ “การจัดทำและจำหน่ายหนังสือฉบับพิมพ์กับศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.อรัญ หาญสืบสาย รักษาการกรรมการผู้จัดการสำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (รอบที่ 2 คือ คุณธีรภัทร ภู่ทอง ผู้ช่วยหัวหน้าแผนกขาย สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) และคุณอัจฉรา พังงา ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายค้าปลีก ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ                    > รอบที่ 1 วันที่ 10 พฤษภาคม 2566 เวลา 13.00-14.00 น.                  > รอบที่ 2 วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 13.00-14.00 น.           การบรรยายหัวข้อ “การจัดทำและจำหน่ายหนังสืออิเล็กทรอนิกส์กับศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผ่านระบบ CU-eBook Store และ CU-eLibrary” วิทยากรโดย คุณพรทิพย์ เจริญสุข และคุณปาริชาติ ผ่านพรม จากศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ                           > รอบที่ 1 วันที่ 9 มีนาคม 2566 เวลา 13.00-14.00 น.                 > รอบที่ 2 วันที่ 14 มีนาคม 2566 เวลา 13.00-14.00 น.           วารสารวิชาการประเภท Open Access และแนวทางการตีพิมพ์ผลงาน โดยบริษัท Book Promotion & Service ร่วมกับสำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 4 เมษายน 2565   No.1 No.2No.3 เรื่อง แนะนำห้องสมุด              ทำความรู้จักกันเบื้องต้นกับสำนักหอสมุดกลาง และห้องสมุดองครักษ์ มศว        แนะนำเว็บไซต์สำนักหอสมุดกลาง        แนะนำบริการ สำนักหอสมุดกลาง        ทำความรู้จัก “ห้องสมุดองครักษ์ มศว” ปีการศึกษา 2566        แนะนำห้องสมุดองครักษ์ (English Version)        แนะนำการใช้บริการห้องสมุดองครักษ์ แนะนำบริการ              SWU Lib Delivery: บริการจัดส่งหนังสือตามคำขอ        บริการยืมระหว่างหน่วยงาน (ICL)        ปัญหาการหาตัวเล่มไม่พบบนชั้นจัดเก็บ        วิธีสแกนบัตรในการเข้าใช้ห้องสมุดอย่างถูกวิธี         มารยาทในการใช้ห้องสมุด Don’t do that in library         No food allowed เรื่อง Library MEET UP ครั้งที่ 4: สำนักหอสมุดกลางXบัณฑิตวิทยาลัย Library MEET UP ครั้งที่ 5: แนะนำ 12 บริการ ของห้องสมุด ที่ไม่ต้องมาห้องสมุดก็สามารถใช้บริการได้ Library Meet Up ครั้งที่ 6: เทคนิคการสืบค้นขั้นสูงสำหรับการทำงานวิจัย Library Meet Up ครั้งที่ 7: เทคนิคการเลือกวารสารนานาชาติเพื่อตีพิมพ์ผลงานวิจัย เรื่อง การใช้โปรแกรม Endnote21     แนะนำโปรแกรม Endnote21  การติดตั้งโปรแกรม Endnote21  การสร้างฐานข้อมูล (Library) (การตั้งค่าเริ่มต้นก่อนใช้งาน และการเพิ่ม Style เข้าโปรแกรม Endnote)  การนำเข้าข้อมูลจากแหล่งข้อมูลออนไลน์  การสร้างข้อมูลบรรณานุกรมขึ้นเองด้วยการพิมพ์  การนำเข้าข้อมูลจากไฟล์ PDF  การจัดหมวดหมู่ข้อมูลในฐานข้อมูล (Library)  การสำรองข้อมูล Endnote  การนำเสนอข้อมูลบรรณานุกรมในโปรแกรม Word Processing >> การใช้โปรแกรม Endnote 21 สำหรับ Mac คู่มือการติดตั้งโปรแกรม Endnote 21 สำหรับเครื่อง MAC คู่มือขั้นตอนการใช้โปรแกรม Endnote 21 สำหรับเครื่อง MAC   การใช้โปรแกรม EndnoteX9     โปรแกรม Endnote คืออะไร  การติดตั้งโปรแกรม

Suggestion

S Suggestion ข้อเสนอแนะ /ข้อร้องเรียน ส่งข้อเสนอแนะ /ข้อร้องเรียน ผลการดำเนินงานตามข้อเสนอแนะ สรุปผลการดำเนินงานจัดการข้อร้องเรียนจากผู้ใช้บริการ ประจำปี 2562 | ประจำปี 2563 | ประจำปี 2564 | ประจำปี 2565 | ประจำปี 2566 | ประจำปี 2567 ตัวกรอง ปี: ปี ค.ศ. สถานที่: สถานที่ กรุณารอสักครู่ << ก่อนหน้า ถัดไป >> นโยบายการจัดการข้อร้องเรียน สำนักหอสมุดกลาง มีนโยบายการจัดการข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ที่ผู้รับบริการจะพึงได้จากบริการของห้องสมุดหลักสองแห่ง คือ สำนักหอสมุดกลาง และห้องสมุดองครักษ์ ดังนั้น จึงกำหนดแนวทางการจัดการข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ โดยแจ้งให้บุคลากรสำนักหอสมุดกลางทราบว่าบุคลากรทุกคนมีส่วนรับผดชอบในการรับฟังและแก้ไขข้อร้องของผู้รับบริการ ทั้งนี้ เพื่อให้การดําเนินงานบริการของห้องสมุดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติตามข้อกำหนดระเบียบเกี่ยวกับการจัดการข้อร้องเรียนที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้ใช้บริการเกิดความมั่นใจในการจัดการข้อร้องเรียนของสำนักหอสมุดกลาง เพื่อให้ข้อร้องเรียนได้รับการตอบสนองที่เหมาะสม และนำไปสู่การปรับปรุงระบบงานให้ดีขึ้น เพื่อเป็นแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติงานเพื่อจัดการข้อร้องเรียนของสำนักหอสมุดกลาง นิยามข้อร้องเรียน หมายถึง คำร้องเรียนจากผู้ใช้บริการที่ไม่ได้รับการตอบสนองต่อความต้องการหรือความคาดหวัง ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจ และต้องการแจ้งขอให้มีการตรวจสอบ แก้ไข หรือปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ หมายถึง คำร้องเพื่อแจ้งให้ทราบ หรือแนะนำ เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงการ บริการ หรือสิ่งแวดล้อมต่างๆ ระบบข้อร้องเรียน หมายถึง เป็นระบบที่รวบรวมข้อร้องเรียน ข้อเสนอแนะที่ได้รับจากผู้ใช้บริการ โดยจะมีการแจ้งผลการดำเนินงานให้ผู้ใช้บริการทราบ กระบวนการจัดการข้อร้องเรียน เป้าหมาย ข้อร้องเรียนเดิมต้องลดจำนวนลง การมอบหมายอำนาจหน้าที่ หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่าย และผู้ดูแลระบบการจัดการข้อร้องเรียน รับผิดชอบข้อร้องเรียนประเภท 1 และ 2 หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่าย รับผิดชอบข้อร้องเรียนประเภท 2 ทีมผู้บริหาร รับผิดชอบข้อร้องเรียนประเภท 3 ระดับของความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อร้องเรียน ระดับ 1 2 3 ประเภท ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะคำชมเชย สอบถามหรือร้องขอข้อมูล ข้อร้องเรียนแก้ไขได้เอง ข้อร้องเรียนนอกเหนือบทบาทของหัวหน้าฝ่าย ตัวอย่าง – การเสนอแนะเกี่ยวกับการให้บริการ– การสอบถามข้อมูล – การร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมผู้ให้บริการ– การร้องเรียนเกี่ยวกับคุณภาพของบริการ การร้องเรียนเกี่ยวกับความไม่โปร่งใสของการดำเนินงาน เวลาในการตอบสนอง 1 วันทำการ ไม่เกิน 2 วันทำการ ไม่เกิน 5 วันทำการ ผู้รับผิดชอบ – หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่าย– ผู้ดูแลระบบการจัดการข้อร้องเรียน – หัวหน้าฝ่ายทุกฝ่าย ทีมผู้บริหาร ช่องทางการรับข้อร้องเรียน เว็บไซต์สำนักหอสมุดกลาง https://lib.swu.ac.th/ หัวข้อ ข้อเสนอแนะ/ข้อร้องเรียน (Suggestion) ดังแบบฟอร์มรับความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อร้องเรียน สำนักหอสมุดกลาง/ห้องสมุดองครักษ์ (https://forms.gle/4NsCXKKK5PWUHdYb9) กล่องรับความคิดเห็นแต่ละชั้น อีเมลของสำนักหอสมุดกลาง asklibrarian@g.swu.ac.th LINE สำนักหอสมุดกลาง @libswu Facebook ของสำนักหอสมุดกลาง มศว https://www.facebook.com/libswu อื่นๆ (แบบสอบถาม โทรศัพท์ หรือแจ้งด้วยวาจา)

SWU Lib Delivery

S SWU Lib Delivery บริการจัดส่งหนังสือตามคำขอ ระบบยืมหนังสือ SWU Lib Delivery : บริการจัดส่งหนังสือทางไปรษณีย์ / รับหนังสือที่ตู้ Book Box อาจารย์ บุคลากร และนิสิต มศว สามารถส่งคำขอยืมหนังสือในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคโควิด-19 โดยเลือกจัดส่งทางไปรษณีย์ (ไม่มีค่าใช้จ่าย) หรือเลือกมารับหนังสือด้วยตนเองที่ห้องสมุดทั้งประสานมิตร และองครักษ์ >> ขอใช้บริการ << >> รายละเอียดและขั้นตอนการขอใช้บริการ << ระบบยืมระหว่างหน่วยงาน Inter Campus Loan (ICL) ระหว่าง •ห้องสมุดประสานมิตร •ห้องสมุดองครักษ์ •ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ องครักษ์ และ •ห้องสมุดศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ ชลประทาน สามารถรับตัวเล่มได้ที่ห้องสมุด >> ขอใช้บริการ <<

Bibliographic management program

B Bibliographic management program โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม Zotero Mendeley EndNote คู่มือการเขียนบรรณานุกรม EndNote-Style คำถามที่พบบ่อย อบรมการใช้ Download Program Zotero (ใช้ร่วมกับระบบ iThesis ได้) Zotero Connector แนะนำการใช้โปรแกรม Zotero คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม Zotero ชุดการฝึกอบรมในรูปแบบออนไลน์เรื่อง โปรแกรมการจัดการบรรณานุกรมสำเร็จรูป Zotero และการเขียนอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ คู่มือการบริหารจัดการบรรณานุกรมด้วย Zotero และ Microsoft Word (สวทช.) วิดีโอแนะนำการใช้โปรแกรม Zotero Download Program Mendeley Reference Manager (*ไม่สามารถใช้กับระบบ iThesis / ใช้รหัส Buasri id ในการ Sign in) Mendeley Web Importer Mendeley Cite (*ใช้ account @m.swu.ac.th หรือ account microsoft) แนะนำการใช้โปรแกรม Mendeley คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม Mendeley (อยู่ระหว่างปรับปรุง) คู่มือการติดตั้งโปรแกรม Mendeley วิดีโอแนะนำการใช้โปรแกรม Mendeley Download Program EndNote << click แนะนำการใช้โปรแกรม EndNote Endnote 21 คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม EndNote21สำหรับ Windows สำหรับ Mac คู่มือและวิดีทัศน์แนะนำการใช้โปรแกรม EndNote21 (English Guides & Videos) วิดีทัศน์แนะนำการใช้โปรแกรม Endnote21 (อยู่ระหว่างดำเนินการ) Endnote 20 คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม EndNote20 คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม EndNote20 (English Guides & Videos) Endnote X9 คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม EndNoteX9 คู่มือและวิดีทัศน์แนะนำการใช้โปรแกรม EndnoteX9 (English Guides & Videos) วิดีทัศน์แนะนำการใช้โปรแกรม EndNoteX9 รวมคลิปแนะนำการใช้โปรแกรม Endnote (English Training Videos) คู่มือการลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม Endnote รูปแบบ APA 7th Style และคู่มือการลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 7th รูปแบบ APA 6th การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 6th-SWU APA 6Th SWU-Eng APA 6Th SWU-Thai รูปแบบ Vancouver SWU การลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ Vancouver สไตล์: Vancouver-SWU สไตล์: Vancouver-SWUGD (สำหรับการทำปริญญานิพนธ์/อ้างอิง 2 ภาษา) Vancouver Style ข้อมูลอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ ระบบ iThesis สำหรับการทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แนวปฏิบัติการทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ สำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ทุกรหัส การใช้งานเพิ่มเติม สำหรับการอ้างอิงรูปแบบ APA การใส่เลขหน้าในการอ้างอิง การใช้อ้างถึงใน/as cited in (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการอบรม EndNote) เอกสารประกอบการอบรม EndNote X8 การเขียนรายการอ้างอิง รูปแบบ APA 7th การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA 7th (American Psychological Association) รูปแบบ APA 6th การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA 6th (American Psychological Association) รูปแบบ Vancouver SWU การเขียนรายการอ้างอิงตามรูปแบบ Vancouver ข้อมูลอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ ระบบ iThesis สำหรับการทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แนวปฏิบัติการทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ สำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ทุกรหัส Style : รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมสำหรับโปรแกรม Endnote รูปแบบ APA 7th Style และคู่มือการการลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 7th การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 7th-SWU รูปแบบ APA 6th SWU การลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 6th APA 6Th SWU-Eng APA 6Th SWU-Thai การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 6th-SWU รูปแบบ Vancouver SWU การลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ Vancouver Vancouver Style การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ Vancouver-SWU การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ Vancouver-SWUGD (สำหรับการทำปริญญานิพนธ์/อ้างอิง 2 ภาษา) คำถามที่พบบ่อยโปรแกรม EndNote ปัญหาแสดงรายการอ้างอิงเป็น ปีกกา หรือ ชาร์ป การแสดงชื่อย่อหน่วยงานกรณีการอ้างอิงผู้แต่งที่เป็นหน่วยงานตั้งแต่ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป การปรับแก้ชื่อเรื่องที่เป็นสัญลักษณ์/สูตร/ชื่อทางวิทยาศาสตร์ การอ้างอิงรูปแบบ Vancouver : ชื่อวารสารไม่แสดงผลเป็นชื่อย่อ การอ้างอิงรูปแบบ Vancouver : ท้ายชื่อย่อวารสารไม่แสดงเครื่องหมายจุด การอ้างอิงรูปแบบ Vancouver: ตัวเลขอ้างอิงไม่ต่อเนื่อง การแก้ปัญหา EndNote-ADD-Ins การแปลงข้อมูลบรรณานุกรมจากไฟล์ Word เป็นไฟล์ .RIS การนำข้อมูลบรรณานุกรมจากโปรแกรม Word เข้าโปรแกรม EndNote การนำข้อมูลบรรณานุกรมจาก Google Scholar เข้าโปรแกรม EndNote วิธีแก้ปัญหาตัวเลขอารบิกไม่เท่ากันในโปรแกรม Microsoft Word วิธีการปรับแก้ข้อมูลบรรณานุกรมในโปรแกรม Word เมนู EndNote ไม่แสดงบนโปรแกรม Microsoft Word ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ จากการใช้งานระบบ iThesis คู่มือ-ตัวอย่าง การทำปริญญานิพนธ์-สารนิพนธ์ในระบบ iThesis: SWU format (ภาษาไทย) โปรแกรมแนะนำเพื่อการค้นคว้า ตารางห้องอบรม (Training room) ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง อบรมโปรแกรม iThesis Download Program Zotero (ใช้ร่วมกับระบบ iThesis ได้) Zotero Connector แนะนำการใช้โปรแกรม Zotero คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม Zotero ชุดการฝึกอบรมในรูปแบบออนไลน์เรื่อง โปรแกรมการจัดการบรรณานุกรมสำเร็จรูป Zotero และการเขียนอ้างอิงเอกสารทางวิชาการ คู่มือการบริหารจัดการบรรณานุกรมด้วย Zotero และ Microsoft Word (สวทช.) วิดีโอแนะนำการใช้โปรแกรม Zotero Download Program Mendeley Reference Manager (*ไม่สามารถใช้กับระบบ iThesis / ใช้รหัส Buasri id ในการ Sign in) Mendeley Web Importer Mendeley Cite (*ใช้ account @m.swu.ac.th หรือ account microsoft) แนะนำการใช้โปรแกรม Mendeley คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม Mendeley (อยู่ระหว่างปรับปรุง) คู่มือการติดตั้งโปรแกรม Mendeley วิดีโอแนะนำการใช้โปรแกรม Mendeley Download Program EndNote << click แนะนำการใช้โปรแกรม EndNote Endnote 21 คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม EndNote21สำหรับ Windows สำหรับ Mac คู่มือและวิดีทัศน์แนะนำการใช้โปรแกรม EndNote21 (English Guides & Videos) วิดีทัศน์แนะนำการใช้โปรแกรม Endnote21 (อยู่ระหว่างดำเนินการ) Endnote 20 คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม EndNote20 คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม EndNote20 (English Guides & Videos) Endnote X9 คู่มือแนะนำการใช้โปรแกรม EndNoteX9 คู่มือและวิดีทัศน์แนะนำการใช้โปรแกรม EndnoteX9 (English Guides & Videos) วิดีทัศน์แนะนำการใช้โปรแกรม EndNoteX9 รวมคลิปแนะนำการใช้โปรแกรม Endnote (English Training Videos) คู่มือการลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม Endnote รูปแบบ APA 7th Style และคู่มือการลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 7th รูปแบบ APA 6th การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 6th-SWU APA 6Th SWU-Eng APA 6Th SWU-Thai รูปแบบ Vancouver SWU การลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ Vancouver สไตล์: Vancouver-SWU สไตล์: Vancouver-SWUGD (สำหรับการทำปริญญานิพนธ์/อ้างอิง 2 ภาษา) Vancouver Style ข้อมูลอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ ระบบ iThesis สำหรับการทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แนวปฏิบัติการทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ สำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ทุกรหัส การใช้งานเพิ่มเติม สำหรับการอ้างอิงรูปแบบ APA การใส่เลขหน้าในการอ้างอิง การใช้อ้างถึงใน/as cited in (ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการอบรม EndNote) เอกสารประกอบการอบรม EndNote X8 การเขียนรายการอ้างอิง รูปแบบ APA 7th การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA 7th (American Psychological Association) รูปแบบ APA 6th การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA 6th (American Psychological Association) รูปแบบ Vancouver SWU การเขียนรายการอ้างอิงตามรูปแบบ Vancouver ข้อมูลอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยศรีครินทรวิโรฒ ระบบ iThesis สำหรับการทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แนวปฏิบัติการทำปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์ สำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ทุกรหัส Style : รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมสำหรับโปรแกรม Endnote รูปแบบ APA 7th Style และคู่มือการการลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 7th การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 7th-SWU รูปแบบ APA 6th SWU การลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 6th APA 6Th SWU-Eng APA 6Th SWU-Thai การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ APA 6th-SWU รูปแบบ Vancouver SWU การลงรายการอ้างอิงในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ Vancouver Vancouver Style การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ Vancouver-SWU การลงรายการอ้างอิง (Reference) ในโปรแกรม EndNote ตามรูปแบบ Vancouver-SWUGD (สำหรับการทำปริญญานิพนธ์/อ้างอิง 2 ภาษา) คำถามที่พบบ่อยโปรแกรม EndNote ปัญหาแสดงรายการอ้างอิงเป็น ปีกกา หรือ ชาร์ป การแสดงชื่อย่อหน่วยงานกรณีการอ้างอิงผู้แต่งที่เป็นหน่วยงานตั้งแต่ครั้งที่ 2 เป็นต้นไป การปรับแก้ชื่อเรื่องที่เป็นสัญลักษณ์/สูตร/ชื่อทางวิทยาศาสตร์ การอ้างอิงรูปแบบ Vancouver : ชื่อวารสารไม่แสดงผลเป็นชื่อย่อ การอ้างอิงรูปแบบ Vancouver : ท้ายชื่อย่อวารสารไม่แสดงเครื่องหมายจุด การอ้างอิงรูปแบบ Vancouver: ตัวเลขอ้างอิงไม่ต่อเนื่อง การแก้ปัญหา EndNote-ADD-Ins การแปลงข้อมูลบรรณานุกรมจากไฟล์ Word เป็นไฟล์ .RIS การนำข้อมูลบรรณานุกรมจากโปรแกรม Word เข้าโปรแกรม EndNote การนำข้อมูลบรรณานุกรมจาก Google Scholar เข้าโปรแกรม EndNote วิธีแก้ปัญหาตัวเลขอารบิกไม่เท่ากันในโปรแกรม Microsoft Word วิธีการปรับแก้ข้อมูลบรรณานุกรมในโปรแกรม Word เมนู EndNote ไม่แสดงบนโปรแกรม Microsoft Word ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ จากการใช้งานระบบ iThesis คู่มือ-ตัวอย่าง การทำปริญญานิพนธ์-สารนิพนธ์ในระบบ iThesis: SWU format (ภาษาไทย) โปรแกรมแนะนำเพื่อการค้นคว้า ตารางห้องอบรม (Training room) ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง อบรมโปรแกรม iThesis

Turnitin

T Turnitin บริการตรวจสอบการคัดลอกผลงาน บริการ Turnitin โปรแกรม Turnitin      สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดให้บริการโปรแกรม Turnitin จำนวน 2       บริการ ได้แก่ บริการที่ 1 ตรวจการคัดลอกผลงานทางวิชาการด้วยตนเอง (Student Account)สำหรับอาจารย์/บุคลากร/นิสิต มศว ที่ต้องการนำผลงานของตนเองส่งตรวจในโปรแกรม Turnitin บริการที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account)บริการเฉพาะอาจารย์ที่ต้องการเปิด Class เพื่อให้นิสิตส่งผลงานตรวจในโปรแกรม Turnitin โดยอาจารย์สามารถดูผลตรวจการคัดลอกผลงานของนิสิตแต่ละคนได้      บริการที่ 1 ตรวจการคัดลอกผลงานทางวิชาการด้วยตนเอง (Student Account) ลักษณะการใช้งาน: สำหรับอาจารย์/บุคลากร/นิสิต มศว ที่ต้องการนำผลงานของตนเองส่งตรวจในโปรแกรม Turnitin**ขอให้ผู้ใช้บริการศึกษาคู่มือแนะนำการใช้ก่อนใช้บริการ** (คู่มือสำหรับ Student Account) ขั้นตอนการใช้บริการ: 1. ขอ Class ID และ Enrollment Key เพื่อใช้บริการตรวจสอบการคัดลอกผลงานด้วยโปรแกรม Turnitin 1.1 ผู้ตรวจผลงานต้องเป็นอาจารย์/บุคลากร/นิสิต ของ มศว และต้องใช้อีเมล @g.swu.ac.th ในการสมัครและตรวจผลงานเท่านั้นNote: กรณียังไม่มีอีเมลของมหาวิทยาลัยหรือลืมรหัสผ่าน ดูรายละเอียดที่หัวข้อ “การขออีเมล @g.swu.ac.th ของมหาวิทยาลัย” ที่อยู่ด้านล่าง 1.2 กรอก “แบบฟอร์มขอ Class ID และ Enrollment Key เพื่อใช้บริการตรวจสอบการคัดลอกผลงานด้วยโปรแกรม Turnitin” คลิกNote: 1) ต้องลงชื่อเข้าใช้งานด้วยอีเมล @g.swu.ac.th หรือ @m.swu.ac.th จึงจะสามารถเปิดใช้งานแบบฟอร์มได้2) Class ID และ Enrollment Key จะมีกำหนดวันหมดอายุ หากครบกำหนดวันหมดอายุแล้วแต่ยังต้องการตรวจผลงานอยู่ สามารถกรอกแบบฟอร์มเพื่อขอ Class ID และ Enrollment Key ใหม่ได้ (ห้องสมุดจะเปลี่ยนรหัสผ่านทุกเดือน) 2. นำ Class ID และ Enrollment Key ที่ได้ไปใช้บริการตรวจสอบการคัดลอกผลงานด้วยโปรแกรม Turnitinกรณีเป็นการใช้งานครั้งแรก ให้ดำเนินการตามข้อ 2.1 ก่อน กรณีเคยมี Student Account สำหรับใช้งานแล้วให้ดำเนินการตามข้อ 2.2 2.1 กรณีการใช้งานครั้งแรกยังไม่มี Account การใช้งานโปรแกรม Turnitin 1) สมัครเข้าใช้โปรแกรม Turnitin คลิก2) เลือก Create Account เป็น Student3) กรอก Class ID และ Enrollment Key ที่ได้จากห้องสมุด (จากการดำเนินการในข้อ 1.2)พร้อมกับกรอกข้อมูลต่าง ๆ สำหรับการสมัครใช้งานโปรแกรม4) หลังจากสมัคร Student Account เพื่อใช้งานเรียบร้อยแล้ว ให้ทำการ Log in เข้าโปรแกรม Turnitin เพื่อส่งผลงานตรวจตามต้องการ (คู่มือสำหรับ Student Account) 2.2 กรณีมี Student Account การใช้งานโปรแกรม Turnitin แล้ว สามารถเข้าใช้งานได้เลย 1) Log in เข้าโปรแกรม Turnitin คลิก2) คลิกที่แถบเมนู Enroll in a Class และกรอก Class ID และ Enrollment Key ที่ได้จากห้องสมุด (จากการดำเนินการในข้อ 1.2)เพื่อส่งผลงานตรวจตามต้องการ (คู่มือสำหรับ Student Account)      บริการที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor                  Account) ลักษณะการใช้งาน: ให้บริการเฉพาะอาจารย์ที่ต้องการเปิด Class เพื่อให้นิสิตส่งผลงานตรวจในโปรแกรม Turnitinโดยอาจารย์สามารถดูผลตรวจการคัดลอกผลงานของนิสิตแต่ละคนได้ ขั้นตอนการใช้บริการ: 1. การลงทะเบียนเพื่อขอเปิดบัญชีผู้ใช้ใหม่ (Create Account) (สำหรับอาจารย์เท่านั้น) 1.1 กรอกแบบฟอร์มเพื่อขอสิทธิ์การเป็น Instructor คลิก1.2 หลังจากทางห้องสมุดเปิดสิทธิ์ให้แล้ว ระบบจะส่งอีเมลไปยังอาจารย์เพื่อให้ทําการตั้งค่าบัญชีผู้ใช้ด้วยตนเอง1.3 อาจารย์สามารถสร้าง Class ตามต้องการ **ขอความกรุณาตั้งค่าต่าง ๆ เพื่อสร้าง Class ตามคู่มือเท่านั้น**คู่มือการใช้งาน Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account) คลิก 2. การให้นิสิตส่งผลงานตรวจใน Class ของอาจารย์นิสิตจะส่งผลงานตรวจด้วย Student Account โดยจะต้องขอ Class ID และ Enrollment Key จากอาจารย์ผู้สอนคู่มือการใช้งาน Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account) คลิก      คู่มือ/คลิปแนะนำวิธีการใช้โปรแกรม Turnitin คู่มือการตรวจการคัดลอกผลงานวิชาการด้วยตัวเอง (Student Account) คลิปแนะนำการตรวจการคัดลอกผลงานวิชาการด้วยตนเอง (Student Account) คู่มือการใช้งานโปรแกรม Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account)NEW แนะนำการใช้งาน Instructor Account NEW รวมคลิปการอบรมและแนะนำการใช้โปรแกรม Turnitin Plagiarism NEW คำถามที่พบบ่อย      รายละเอียดในการตรวจผลงาน สามารถตรวจผลงานด้วยตนเองได้ไม่จำกัดครั้ง แต่ครั้งที่ 4 เป็นต้นไป ต้องใช้เวลารอผลตรวจ 24 ชั่วโมง หลังจาก Class ID หมดอายุการใช้งานแล้ว บรรณารักษ์จะดำเนินการลบ Account ออกเพื่อหมุนเวียนการใช้งาน หากต้องการใช้งานอีกครั้งให้ดำเนินการ กรอกรายละเอียดในการขอ Class ID และ Class Enrollment Key ใหม่อีกครั้ง กรณีนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาพบปัญหาในการตรวจปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์หรือมีคำถามเกี่ยวกับผลการตรวจให้ติดต่อทางบัณฑิตวิทยาลัย เบอร์โทรศัพท์: 094-795-9362 หรืออีเมล: grad@g.swu.ac.th      รายละเอียดของการส่งไฟล์ผลงาน ตั้งชื่อไฟล์เป็นภาษาอังกฤษโดยใช้ชื่อของตนเอง (กรณีแยกเป็นหลายไฟล์ ให้ระบุคำประกอบเพื่อให้เห็นความแตกต่าง เช่น Somjai Chap1, Somjai Chap2 เป็นต้น) ขนาดไฟล์ต้องไม่เกิน 40 MB กรณีผลงานมีขนาดยาวและมีการแบ่งเป็นบท ควรแยกไฟล์ออกเป็นบทก่อน และจำนวนหน้าในแต่ละไฟล์ต้องไม่เกิน 400 หน้า ขนาดไฟล์เล็กที่สุดต้องมีอย่างน้อย 20 คำ จึงจะตรวจสอบได้ ประเภทของไฟล์ที่ตรวจสอบได้แก่ Microsoft Word, PDF, OpenOffice (ODT) และ Google Docs      การขออีเมล @g.swu.ac.th ของมหาวิทยาลัย สมัครได้ที่: https://account.swu.ac.th/login (ใช้บัวศรีไอดีในการสมัคร) กรณีลืมรหัสผ่าน ดูรายละเอียดได้ที่: https://account.swu.ac.th/      ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม สำนักหอสมุดกลาง : เคาน์เตอร์บริการตอบคำถาม ชั้น 2 โทร: 02-258-4002-3, 02-260-4514 มือถือ 063-801-3030อีเมล: asklibrarian@g.swu.ac.th เฟซบุ๊ก: https://www.facebook.com/libswu/ ห้องสมุดองครักษ์ : อัมพร ขาวบาง หรือ ยุภาภรณ์ ไชยสงค์ โทร: 02-649-5000 ต่อ 27233, 02-649-5421, 083-434-3752อีเมล: oklib@g.swu.ac.th เฟซบุ๊ก: https://www.facebook.com/oklib.swu.ac.th      2. ขั้นตอนการสมัครเข้าใช้งานโปรแกรม TurnitinStudent Account โปรแกรม Turnitin คือ โปรแกรมตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการจากแหล่งข้อมูลออนไลน์ โดยการเปรียบเทียบและตรวจสอบข้อความที่ซ้ำซ้อนของผลงานวิชาการที่ต้องการกับผลงานวิชาการของผู้อื่นที่อยู่ในรูปออนไลน์จากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผลงานวิชาการที่อยู่ในคลังข้อมูลของ Turnitin สื่อสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วารสารอิเล็กทรอนิกส์ และข้อมูลต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทริโรฒ ได้เริ่มบอกรับโปรแกรม Turnitin ตั้งแต่เดือนมกราคม 2562 เพื่อให้นิสิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัยได้ตรวจสอบผลงานของตนเองก่อนการนำเสนอต่อไป ข้อกำหนดในการให้บริการ 1. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยบรรณารักษ์เป็นผู้ดูแลการใช้งานและดำเนินการในการสร้าง Class ID และ Class Enrollment Key2. กำหนดให้ใช้อีเมลของมหาวิทยาลัยเท่านั้น (@g.swu.ac.th) ในการลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้งานโปรแกรม Turnitin3. สิทธิการเข้าใช้งานโปรแกรม Turnitin ที่สำนักหอสมุดกลางบอกรับ Student (ผู้ส่งตรวจสอบผลงาน) จำนวน 300 accounts*Instructor (ผู้ตรวจสอบผลงาน) จำนวน 30 accounts*กรณีที่มี Student Accounts ใดที่ไม่ต้องการใช้งาน หรือใช้งานเรียบร้อยแล้ว ให้ Instructor ลบออกจากระบบ เพื่อให้สิทธิในการใช้งานกลับคืนมา 4. แหล่งข้อมูลออนไลน์ที่ใช้สำหรับเปรียบเทียบและตรวจสอบผลงาน ประกอบด้วย 3 แหล่ง ได้แก่ 4.1 คลังข้อมูลของ Turnitin4.2 สื่อสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วารสารอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น4.3 แหล่งข้อมูลที่อยู่บนอินเทอร์เน็ตทั้งปัจจุบันและย้อนหลัง 5. ขอบเขตของการตรวจสอบผลงาน จะละเว้นการตรวจสอบข้อมูลในส่วนที่เป็นรายการเอกสารอ้างอิงหรือรายการบรรณานุกรม และข้อความที่อยู่ในเครื่องหมายคำพูดหรืออัญประกาศ ทั้งนี้ หากผู้ใช้บริการให้ตรวจสอบข้อมูลในส่วนดังกล่าว สามารถแจ้งเพิ่มเติมได้ที่บรรณารักษ์6. รายละเอียดของการส่งไฟล์ผลงาน 6.1 ตั้งชื่อไฟล์เป็นภาษาอังกฤษโดยใช้ชื่อของตนเอง (กรณีแยกเป็นหลายไฟล์ ให้ระบุคำประกอบเพื่อให้เห็นความแตกต่าง เช่น Somjai Chap1, Somjai Chap2 เป็นต้น)6.2 ขนาดไฟล์ต้องไม่เกิน 40 MB กรณีผลงานมีขนาดยาวและมีการแบ่งเป็นบท ควรแยกไฟล์ออกเป็นบทก่อน และจำนวนหน้าในแต่ละไฟล์ต้องไม่เกิน 400 หน้า6.3 ขนาดไฟล์เล็กที่สุดต้องมีอย่างน้อย 20 คำ จึงจะตรวจสอบได้6.4 ประเภทของไฟล์ที่ตรวจสอบได้แก่ Microsoft Word, PDF, OpenOffice (ODT) และ Google Docs 7. การพิจารณาผลการตรวจสอบจากโปรแกรม Turnitin ในกรณีเป็นปริญญานิพนธ์ สารนิพนธ์ ดุษฎีนิพนธ์ บทความวิชาการ หรืองานที่นิสิตได้รับมอบหมาย จะขึ้นอยู่กับอาจารย ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ผู้สอน พบปัญหาการใช้หรือติดต่อสอบถามเพิ่มเติม:สำนักหอสมุดกลาง : เคาน์เตอร์บริการตอบคำถาม ชั้น 2โทร: 02-6495443อีเมล: asklibrarian@g.swu.ac.th เฟซบุ๊ก: https://www.facebook.com/libswu/ห้องสมุดองครักษ์ : อัมพร ขาวบาง หรือ ยุภาภรณ์ ไชยสงค์โทร: 02-649-5421, 083-434-3752, 02-649-5000 ต่อ 27232อีเมล: oklib@g.swu.ac.th เฟซบุ๊ก: https://www.facebook.com/oklib.swu.ac.th คู่มือสำหรับบรรณารักษ์แนวทางการบริหารจัดการเพื่อให้บริการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการด้วยโปรแกรม Turnitin คู่มือการใช้โปรแกรม Turnitin เพื่อการให้บริการ สำหรับบรรณารักษ์ คู่มือบริการแบบที่ 1 บรรณารักษ์เป็นผู้ดำเนินการตรวจสอบผลงานให้ คู่มือบริการแบบที่ 2 ตรวจสอบผลงานด้วยตนเอง (สำหรับอาจารย์/บุคลากร) คู่มือการตรวจสอบผลงานสำหรับ Instructor รวมคู่มือ/แนะนำการใช้ รายงานการขอใช้บริการจากผู้ใช้ บริการแบบที่ 1 / บริการแบบที่ 2 / บริการ Instructor/ รายงานการตรวจผลงานด้วยตนเอง คู่มือ ithenticate      สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จัดให้บริการโปรแกรม Turnitin จำนวน 2       บริการ ได้แก่ บริการที่ 1 ตรวจการคัดลอกผลงานทางวิชาการด้วยตนเอง (Student Account)สำหรับอาจารย์/บุคลากร/นิสิต มศว ที่ต้องการนำผลงานของตนเองส่งตรวจในโปรแกรม Turnitin บริการที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account)บริการเฉพาะอาจารย์ที่ต้องการเปิด Class เพื่อให้นิสิตส่งผลงานตรวจในโปรแกรม Turnitin โดยอาจารย์สามารถดูผลตรวจการคัดลอกผลงานของนิสิตแต่ละคนได้      บริการที่ 1 ตรวจการคัดลอกผลงานทางวิชาการด้วยตนเอง (Student Account) ลักษณะการใช้งาน: สำหรับอาจารย์/บุคลากร/นิสิต มศว ที่ต้องการนำผลงานของตนเองส่งตรวจในโปรแกรม Turnitin**ขอให้ผู้ใช้บริการศึกษาคู่มือแนะนำการใช้ก่อนใช้บริการ** (คู่มือสำหรับ Student Account) ขั้นตอนการใช้บริการ: 1. ขอ Class ID และ Enrollment Key เพื่อใช้บริการตรวจสอบการคัดลอกผลงานด้วยโปรแกรม Turnitin 1.1 ผู้ตรวจผลงานต้องเป็นอาจารย์/บุคลากร/นิสิต ของ มศว และต้องใช้อีเมล @g.swu.ac.th ในการสมัครและตรวจผลงานเท่านั้นNote: กรณียังไม่มีอีเมลของมหาวิทยาลัยหรือลืมรหัสผ่าน ดูรายละเอียดที่หัวข้อ “การขออีเมล @g.swu.ac.th ของมหาวิทยาลัย” ที่อยู่ด้านล่าง 1.2 กรอก “แบบฟอร์มขอ Class ID และ Enrollment Key เพื่อใช้บริการตรวจสอบการคัดลอกผลงานด้วยโปรแกรม Turnitin” คลิกNote: 1) ต้องลงชื่อเข้าใช้งานด้วยอีเมล @g.swu.ac.th หรือ @m.swu.ac.th จึงจะสามารถเปิดใช้งานแบบฟอร์มได้2) Class ID และ Enrollment Key จะมีกำหนดวันหมดอายุ หากครบกำหนดวันหมดอายุแล้วแต่ยังต้องการตรวจผลงานอยู่ สามารถกรอกแบบฟอร์มเพื่อขอ Class ID และ Enrollment Key ใหม่ได้ (ห้องสมุดจะเปลี่ยนรหัสผ่านทุกเดือน) 2. นำ Class ID และ Enrollment Key ที่ได้ไปใช้บริการตรวจสอบการคัดลอกผลงานด้วยโปรแกรม Turnitinกรณีเป็นการใช้งานครั้งแรก ให้ดำเนินการตามข้อ 2.1 ก่อน กรณีเคยมี Student Account สำหรับใช้งานแล้วให้ดำเนินการตามข้อ 2.2 2.1 กรณีการใช้งานครั้งแรกยังไม่มี Account การใช้งานโปรแกรม Turnitin 1) สมัครเข้าใช้โปรแกรม Turnitin คลิก2) เลือก Create Account เป็น Student3) กรอก Class ID และ Enrollment Key ที่ได้จากห้องสมุด (จากการดำเนินการในข้อ 1.2)พร้อมกับกรอกข้อมูลต่าง ๆ สำหรับการสมัครใช้งานโปรแกรม4) หลังจากสมัคร Student Account เพื่อใช้งานเรียบร้อยแล้ว ให้ทำการ Log in เข้าโปรแกรม Turnitin เพื่อส่งผลงานตรวจตามต้องการ (คู่มือสำหรับ Student Account) 2.2 กรณีมี Student Account การใช้งานโปรแกรม Turnitin แล้ว สามารถเข้าใช้งานได้เลย 1) Log in เข้าโปรแกรม Turnitin คลิก2) คลิกที่แถบเมนู Enroll in a Class และกรอก Class ID และ Enrollment Key ที่ได้จากห้องสมุด (จากการดำเนินการในข้อ 1.2)เพื่อส่งผลงานตรวจตามต้องการ (คู่มือสำหรับ Student Account)      บริการที่ 2 การใช้งานโปรแกรม Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor                  Account) ลักษณะการใช้งาน: ให้บริการเฉพาะอาจารย์ที่ต้องการเปิด Class เพื่อให้นิสิตส่งผลงานตรวจในโปรแกรม Turnitinโดยอาจารย์สามารถดูผลตรวจการคัดลอกผลงานของนิสิตแต่ละคนได้ ขั้นตอนการใช้บริการ: 1. การลงทะเบียนเพื่อขอเปิดบัญชีผู้ใช้ใหม่ (Create Account) (สำหรับอาจารย์เท่านั้น) 1.1 กรอกแบบฟอร์มเพื่อขอสิทธิ์การเป็น Instructor คลิก1.2 หลังจากทางห้องสมุดเปิดสิทธิ์ให้แล้ว ระบบจะส่งอีเมลไปยังอาจารย์เพื่อให้ทําการตั้งค่าบัญชีผู้ใช้ด้วยตนเอง1.3 อาจารย์สามารถสร้าง Class ตามต้องการ **ขอความกรุณาตั้งค่าต่าง ๆ เพื่อสร้าง Class ตามคู่มือเท่านั้น**คู่มือการใช้งาน Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account) คลิก 2. การให้นิสิตส่งผลงานตรวจใน Class ของอาจารย์นิสิตจะส่งผลงานตรวจด้วย Student Account โดยจะต้องขอ Class ID และ Enrollment Key จากอาจารย์ผู้สอนคู่มือการใช้งาน Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account) คลิก      คู่มือ/คลิปแนะนำวิธีการใช้โปรแกรม Turnitin คู่มือการตรวจการคัดลอกผลงานวิชาการด้วยตัวเอง (Student Account) คลิปแนะนำการตรวจการคัดลอกผลงานวิชาการด้วยตนเอง (Student Account) คู่มือการใช้งานโปรแกรม Turnitin สำหรับอาจารย์ผู้สอน (Instructor Account)NEW แนะนำการใช้งาน Instructor Account NEW รวมคลิปการอบรมและแนะนำการใช้โปรแกรม Turnitin Plagiarism NEW คำถามที่พบบ่อย      รายละเอียดในการตรวจผลงาน สามารถตรวจผลงานด้วยตนเองได้ไม่จำกัดครั้ง แต่ครั้งที่ 4 เป็นต้นไป ต้องใช้เวลารอผลตรวจ 24 ชั่วโมง หลังจาก Class ID หมดอายุการใช้งานแล้ว บรรณารักษ์จะดำเนินการลบ Account ออกเพื่อหมุนเวียนการใช้งาน หากต้องการใช้งานอีกครั้งให้ดำเนินการ กรอกรายละเอียดในการขอ Class ID และ Class Enrollment Key ใหม่อีกครั้ง กรณีนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาพบปัญหาในการตรวจปริญญานิพนธ์/สารนิพนธ์หรือมีคำถามเกี่ยวกับผลการตรวจให้ติดต่อทางบัณฑิตวิทยาลัย เบอร์โทรศัพท์: 094-795-9362 หรืออีเมล: grad@g.swu.ac.th      รายละเอียดของการส่งไฟล์ผลงาน ตั้งชื่อไฟล์เป็นภาษาอังกฤษโดยใช้ชื่อของตนเอง (กรณีแยกเป็นหลายไฟล์ ให้ระบุคำประกอบเพื่อให้เห็นความแตกต่าง เช่น Somjai Chap1, Somjai Chap2 เป็นต้น) ขนาดไฟล์ต้องไม่เกิน 40 MB กรณีผลงานมีขนาดยาวและมีการแบ่งเป็นบท ควรแยกไฟล์ออกเป็นบทก่อน และจำนวนหน้าในแต่ละไฟล์ต้องไม่เกิน 400 หน้า ขนาดไฟล์เล็กที่สุดต้องมีอย่างน้อย 20 คำ จึงจะตรวจสอบได้ ประเภทของไฟล์ที่ตรวจสอบได้แก่ Microsoft Word, PDF, OpenOffice (ODT) และ Google Docs      การขออีเมล @g.swu.ac.th ของมหาวิทยาลัย สมัครได้ที่: https://account.swu.ac.th/login (ใช้บัวศรีไอดีในการสมัคร) กรณีลืมรหัสผ่าน ดูรายละเอียดได้ที่: https://account.swu.ac.th/      ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม สำนักหอสมุดกลาง : เคาน์เตอร์บริการตอบคำถาม ชั้น 2 โทร: 02-258-4002-3, 02-260-4514 มือถือ 063-801-3030อีเมล: asklibrarian@g.swu.ac.th เฟซบุ๊ก: https://www.facebook.com/libswu/ ห้องสมุดองครักษ์ : อัมพร ขาวบาง หรือ ยุภาภรณ์ ไชยสงค์ โทร: 02-649-5000 ต่อ 27233, 02-649-5421, 083-434-3752อีเมล: oklib@g.swu.ac.th เฟซบุ๊ก: https://www.facebook.com/oklib.swu.ac.th      2. ขั้นตอนการสมัครเข้าใช้งานโปรแกรม TurnitinStudent Account โปรแกรม Turnitin คือ โปรแกรมตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการจากแหล่งข้อมูลออนไลน์ โดยการเปรียบเทียบและตรวจสอบข้อความที่ซ้ำซ้อนของผลงานวิชาการที่ต้องการกับผลงานวิชาการของผู้อื่นที่อยู่ในรูปออนไลน์จากแหล่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผลงานวิชาการที่อยู่ในคลังข้อมูลของ Turnitin สื่อสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องที่อยู่ในรูปอิเล็กทรอนิกส์ เช่น วารสารอิเล็กทรอนิกส์ และข้อมูลต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทริโรฒ ได้เริ่มบอกรับโปรแกรม Turnitin ตั้งแต่เดือนมกราคม 2562 เพื่อให้นิสิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัยได้ตรวจสอบผลงานของตนเองก่อนการนำเสนอต่อไป ข้อกำหนดในการให้บริการ 1. สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยบรรณารักษ์เป็นผู้ดูแลการใช้งานและดำเนินการในการสร้าง Class ID และ Class Enrollment Key2. กำหนดให้ใช้อีเมลของมหาวิทยาลัยเท่านั้น (@g.swu.ac.th) ในการลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้งานโปรแกรม Turnitin3. สิทธิการเข้าใช้งานโปรแกรม Turnitin ที่สำนักหอสมุดกลางบอกรับ Student (ผู้ส่งตรวจสอบผลงาน) จำนวน 300 accounts*Instructor (ผู้ตรวจสอบผลงาน) จำนวน 30 accounts*กรณีที่มี Student Accounts

Training Room

T Training room ตารางห้องฝึกอบรม หากต้องการจองใช้ห้อง 102 หรือต้องการอบรมโปรแกรมของห้องสมุด สามารถเช็คห้องว่างลงทะเบียน บรรณารักษ์จะตอบกลับไปทาง e-mail แบบฟอร์มการจองอบรมและจองใช้ห้องคอมพิวเตอร์ 102